www.jobfoodthailand.com
หางาน || หาคน || หางานราชการ   หน้าแรก เกี่ยวกับเรา อัตราค่าโฆษณา การชำระเงิน ลงประกาศฟรี ติดต่อเรา
Jobfood Jobfood
ผู้ประกอบการ ผู้สมัครงาน
ลืมรหัสผ่าน | สมัครสมาชิก
คนหางาน Login with Facebook
สนใจลงโฆษณาคลิกที่นี่
jobfood
 
หมวดหมู่อาชีพ : ระดับเงินเดือน : หางาน หาคน
ระดับการศึกษา :
 
 ข้อมูลส่วนตัว
 ชื่อ - นามสกุล :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 เพศ :   หญิง
 สถานะสมรส :  โสด
 สัญชาติ :   ไทย
 ศาสนา :   พุทธ
 วันเกิด :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น] อายุ 24 ปี
 ส่วนสูง :   157 Cm. น้ำหนัก 48 Kg.
 สถานะภาพทางการทหาร :   ได้รับการยกเว้น
 ข้อมูลการติดต่อ
 ที่อยู่ :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 Email :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 โทรศัพท์ :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 มือถือ :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 ข้อมูลทั่วไป
 สาขาวิชาชีพ :  โรงงานผลิตอาหาร(Food Factory)
 ลักษณะงานที่ต้องการ :  งานประจำ
 ตำแหน่งที่สนใจ :  RD/QA/production
 ระดับเงินเดือนที่ต้องการ :  ไม่ระบุ บาท
 ประวัติการศึกษา
 ปัจจุบัน :  กำลังศึกษาอยู่
 1. การศึกษาสูงสุด
 ระดับการศึกษา :   ปริญญาโท
 ชื่อสถานศึกษา :  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 วุฒิการศึกษา :  วิทยาศาสตร์บัณฑิตมหาบัณฑิต
 สาขาวิชา :  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร แบบก้าวหน้า 4+1
 เกรดเฉลี่ย (GPA.) :  3.91
 2. การศึกษาก่อนหน้า
 ระดับการศึกษา :   ปริญญาตรี
 ชื่อสถานศึกษา :  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 วุฒิการศึกษา :  วิทยาศาสตร์บัณฑิต
 สาขาวิชา :  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (ปริญญาตรีแบบก้าวหน้า)
 เกรดเฉลี่ย (GPA.) :  3.33
 ประวัติการทำงาน เริ่มจากล่าสุดก่อน
 ประสบการณ์ทำงาน :  0 ปี
 1. ประสบการณ์ทำงาน
 เริ่มจาก (เดือน ปี) :   พฤษภาคม 2559 ถึง มิถุนายน 2559
 บริษัท :  บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
 ที่อยู่บริษัท :  48 หมู่ที่ 9 ถ.สุวินทวงศ์ แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510
 ตำแหน่ง :  ฝึกปฏิบัติงานจากหน่วยงานประกันคุณภาพ
 เงินเดือน :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 ลักษณะงานที่ทำ :  ตรวจสอบและดูแลกระบวนการผลิตทุกขั้นตอนให้เป็นตามเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสากลต่างๆ ตั้งแต่การรับวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์จนถึงมือผู้บริโภค
 2. ประสบการณ์ทำงาน
 เริ่มจาก (เดือน ปี) :   ถึง
 บริษัท :  
 ที่อยู่บริษัท :  
 ตำแหน่ง :  
 เงินเดือน :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
 ลักษณะงานที่ทำ :  
 ประวัติการฝึกอบรม เริ่มจากล่าสุดก่อน
 1. ประสบการณ์ฝึกอบรม
 เริ่มจาก (เดือน ปี) :   มิถุนายน 2560 ถึง
 สถาบัน :   คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
 หลักสูตร :   การฝึกอบรมและปฏิบัติการหลักสูตร การจัดทำระบบ GMP และ HACCP ในอุตสาหกรรมอาหาร
 2. ประสบการณ์ฝึกอบรม
 เริ่มจาก (เดือน ปี) :   มิถุนายน 2557 ถึง
 สถาบัน :  ศูนย์ฝึกอาชีพมีนบุรี
 หลักสูตร :  การฝึกอบรมหลักสูตรวิชา เบเกอรี่ 80 ชั่วโมง
 ความสามารถ
 ความสามารถทางภาษา
 ภาษาไทย :  พูด ดี อ่าน ดี เขียน ดี
 ภาษาอังกฤษ :  พูด พอใช้ อ่าน ดี เขียน พอใช้
 ความสามารถอื่นๆ
 คอมพิวเตอร์ :   Internet       Microsoft Word       Microsoft Excel
 พิมพ์ดีด :  ภาษาไทย   คำ/นาที     ภาษาอังกฤษ   คำ/นาที
 ความสามารถในการขับขี่ :   รถยนต์      
 ใบอนุญาตขับขี่ :   รถยนต์      
 ยานพาหนะส่วนตัว :   รถยนต์      
 ความสามารถพิเศษอื่นๆ :  • สามารถวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทางเคมี และจุลินทรีย์ที่เกิดขึ้นกับอาหารได้ เช่น การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพในด้านขนาด รูปร่าง น้ำหนัก สี และพื้นผิวของอาหาร, การวิเคราะห์ลักษณะเนื้อสัมผัสในอาหาร, การวิเคราะห์ปริมาณองค์ประกอบทางเคมีของอาหาร, การตรวจนับปริมาณจุลินทรีย์ที่มีชีวิตทั้งหมด, การตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร, ความสามารถในการต้านการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ (clear zone) และอื่นๆ • สามารถใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์ได้ เช่น Texture Analyzer, Brabender Visco Amylograph, Differential Scanning Calorimetry (DSC), Microscope, Colorimeter, UV/VIS Spectrophotometer, High Performance Liquid Chromatography (HPLC), Gas Chromatograph-Mass Spectrometer (GCMS) และอื่นๆ • สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ เช่น Microsoft Word, Microsoft excel, SPSS และอื่นๆ • สามารถทำขนมเบเกอรี่และขนมไทยได้ เช่น เค้ก, คุกกี้, ขนมปัง, พาย, ขนมเปี๊ยะ, โมจิไอศกรีม, บัวลอยไข่หวาน, สังขยา, ข้าวเหนียวมะม่วง, ฝอยทอง และอื่นๆ
 โครงการ / ผลงาน / เกียรติประวัติ / บุคคลอ้างอิง
 โครงการ / ผลงาน :  ตีพิมพ์บทความลงวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 เรื่อง: การศึกษาคุณสมบัติบางประการของฟิล์มคีแตม ศึกษาปริมาณเจลโลสที่เหมาะสมในการผลิตฟิล์มคีแตม โดยใช้ไคโตซาน 0.25 กรัมต่อเจลโลส 0.25, 0.50, 0.75 และ 1.00 กรัม ตามลำดับ จากนั้นนำฟิล์มที่ผลิตได้มาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง FTIR เพื่อศึกษาการเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างไคโตซานและเจลโลสที่เรียกว่า คีแตม (Chitam) และนำฟิล์มที่ได้มาตรวจสมบัติบางประการของฟิล์มคีแตมด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM)เพื่อดูลักษณะพื้นผิวของฟิล์มคีแตม ใช้เครื่องวิเคราะห์เนื้อสัมผัสเพื่อวัดความแข็งแรงและยืดหยุ่นของฟิล์ม และศึกษาความสามารถในการต้านจุลินทรีย์ด้วยการตรวจนับปริมาณจุลินทรีย์ที่มีชีวิตทั้งหมด และความต้านทานการเจริญเติบโตของเชื้อ Staphylococcus aureus และ Escherichia coli (Clear zone)
 บุคคลอ้างอิง :  [สำหรับสมาชิกเท่านั้น]
แก้ไขข้อมูลล่าสุดเมื่อ : 26 ก.พ. 2562 - สมัครงานล่าสุดเมื่อ : ไม่พบข้อมูล
 
www.jobfoodthailand.com